-
CreatorTopic
-
06/13/2016 at 2:44 pm #5282AnneMember
Imagine that you are conducting a trial among MSM. Homosexuality is stigmatized and is illegal in the country. Some of your participants are attacked at a local nightclub because rumors have circulated about their involvement with the site, which has become known as a ‘place where people train to become gay’.
How would your site handle this situation?
What could possibly have been done in advance to prevent this from happening?
-
CreatorTopic
-
AuthorReplies
-
-
07/05/2016 at 6:02 am #5466RojchanaMember
จากการท่ีได้เรียน GPP จนจบบทเรียนสุดท้าย ดิฉันคิดว่าได้ประสบการณ์จากการเรียนรู้มากและสามารถนำไปใช้ในการทำงานวิจัยได้มากขึ้นและมีประโยชน์มากที่ได้ทำแบบฝึกหัดทบทวนความเข้าใจ ได้รู้จักการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดค่ะ และขอบคุณทีมงานทุดท่านโดยเฉพาะคุณอุดม ที่เสียสละเวลาอันมีค่ามาช่วยแปลภาษาให้พวกเราเข้าใจมากขึ้นค่ะ
-
07/07/2016 at 5:26 am #5475UdomMember
Thank you krub K. Rojchana. K. Rojchana reflected on GPP Online after completing the last lesson. She wrote that she learned so much from the lessons and the the knowledge tests. She can apply the knowledge gained to her work for optimal benefit. She thanks the GPP Online team for their dedication and assistance.
Thank you so much krub K. Rojchana. We appreciate your inputs and participation. We hope that the experience and knowledge gained from this course will be useful for your work in the future. We are looking forward to working with you again in the future.
-
-
06/21/2016 at 2:22 pm #5370ThanthipMember
ทีมวิจัยควรจะเตรียมความพร้อมในทุกๆด้าน เช่น การเตรียมชุมชน การขอความร่วมมือกับชุมชน หารือกับผู้มีส่วนได้เสียกับ เพื่อทราบถึงความคิดเห็นของชุมชน และนำมาปรับประยุกต์ใช้ให้เข้ากับบริบทของชุมชน และการให้ข้อมูลที่เป็นความจริงที่เหมาะสมกับแต่ละชุมชนก็จะช่วยให้เข้าถึง และเข้าใจชุมชน และผู้มีส่วนได้เสียได้
ส่วนการป้องกันการเกิดเหตุการณ์ซ้ำ ก็ควรจะมีการวางแผนและปรึกษา CAB เพื่อหาข้อตกลงที่จะปฏิบัติร่วมกัน เพื่อไม่ให้เกิดเหตุการณ์ที่คุกคามขึ้นได้อีก
-
06/22/2016 at 4:44 am #5373UdomMember
Thank you krub K. Thanthip. K. Thanthip wrote:
The research team should prepare for every aspects of a trial such as training the community, seeking support from the community, and consulting stakeholders, all of which will help the research team to know more about concerns of community members. The suggestions from the community could be applied to the context of the community. Providing correct, truthful and appropriate information to the community will help the research team to gain access to the community and understand the community and stakeholders.To prevent the reoccurrence of the event, the research team should develop a preventive plan with inputs from the CAB. The research team should find an agreement with the CAB about the actions needed to prevent such event.
-
-
06/21/2016 at 2:53 am #5355Supabhorn PengnonyangMember
ในประเด็นนี้ เราสามารถป้องกันและวางแผนแนวทางแก้ไข social harm ได้ดังนี้
- ทีมวิจัยหารือกับผู้มีส่วนได้เสีย ซึ่งรวมถึง กลุ่ม MSM ในพื้นที่ NGO ที่ทำงานด้านสิทธิ CAB และสื่อต่างๆ เพื่อค้นหาว่าอะไรที่จะเป็นประเด็นด้านการตีตรา เลือกปฏิบัติของสังคมที่จะมีต่ออาสาสมัคร ที่จะเกิด social harm ระหว่างที่จะดำเนินการวิจัยบ้าง เพื่อกำหนดแนวทางจัดการและแก้ปัญหาระหว่างที่ดำเนินการวิจัย
- ทั้งนี้ในการหารือกับสื่อต่างๆ เราอาจวางแผนประชาสัมพันธ์ถึงโครงการ เพื่อสื่อสารในทาง บวก กับสังคมตั้งแต่ต้น เพื่อให้เข้าใจว่าศูนย์วิจัยกับลังทำอะไรอยู่ และเพื่อจุดประสงค์ใด
-
06/21/2016 at 6:16 am #5356UdomMember
Thank you krub K. Supabhorn. K. Supabhorn wrote:
For this issue, we can prevent and plan for mitigation of social harm by:
– In order to determine the ways to manage and solve the problem of social harms, the research team should discuss with stakeholders including MSM groups, local human rights NGOs and media to learn about what issues or factors that can lead to stigma of and discrimination against trial participants, what issues that can lead to social harms before the implementation of the trial.
– In addition, before the trial, we should have a plan for promote the trial by constructively communicating with the society from the beginning to educate them about what the research institute is doing and for what purpose.
-
06/20/2016 at 5:07 am #5339RojchanaMember
สำหรับการทำงานวิจัยท่ีจะไม่มีผลกระทบกับอาสาสมัคร ดิฉันคิดว่าก่อนจะเริ่มโครงการเราจะต้องเตรียมความพร้อมหลายๆด้าน ทั้งจิตใจ สังคม รวมถึงความรู้ความเข้าใจของผู้ที่จะเข้ามาเป็นอาสาสมัคร และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทั้งหมด เพื่อความเข้าใจท่ีตรงกัน
ถ้าเกิดปัญหาท่ีมีผลกระทบต่ออาสาสมัครจริง ทางทีมวิจัยและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทังหมดต้องมีการปรึกษาหารือกันว่าจะแก้ไขปัญหาอย่างไร โดยคำนึงถึงตัวอาสาสมัครเป็นหลักค่ะ
ขอบคุณมากค่ะ
-
06/20/2016 at 6:06 am #5341UdomMember
Thank you krub K. Rojchana. K. Rojchana wrote:
– For trial that has no consequence to trial participants and before the beginning of the trial, research team should have readiness plan to make sure that potential trial participants have proper understanding about the trial, and are psychological and societal ready. This should include other stakeholders as well to ensure that all have the same understanding.
– If trial participants encountered problem, consequence, the research team and stakeholders should discuss how to solve the problem with the approach that focusses on trial participants.
-
-
06/20/2016 at 12:52 am #5338JureepornMember
-โครงการวิจัยควรจัดให้มีการประชุมปรึกษาหารือกับกลุ่มสมาชิกของ CAB ในระดับประเทศเพื่อขอคำแนะนำเกี่ยวกับประเด็นการมีเพศสัมพันธ์กับคนเพศเดียวกันนั้นถูกรังเกียจตีตราและผิดกฏหมาย ทั้งนี้เพื่อเป็นข้อมูลในการวางแผนเตรียมกิจกรรมเพื่อประชาสัมพันธ์โครงการในภาพกว้าง
-นอกจากนี้ควรมีการเตรียมชุมชน ซึ่งอาจจะจัดประชุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในลักษณะ community forum เพื่อได้รู้บริบทของชุมชนที่โครงการจะเข้าไปทำการวิจัย เพื่อเป็นข้อมูลในการเตรียมชุมชน เตรียมย่อยข้อมูลที่จะใช้ประชาสัมพันธ์และภาษาที่จะใช้ให้เหมาะกับประชากรเป้าหมาย
-เนื่องจากประเด็นที่จะทำการวิจัย มีความท้าทายเนื่องจากยังมีการตีตราและถูกรังเกียจ ดังนั้นควรมีการจัดทำ issue management เพื่อให้มีมาตรการรองรับกับปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นระหว่างดำเนินโครงการ
-สำหรับกรณีที่อาสาสมัครได้รับผลกระทบนั้น นอกจากทางโครงการจะช่วยให้การดูแลให้เหมาะสมตามจริยธรรมการวิจัยแล้วนั้น ทางโครงการควรจะมีการปรึกษาหารือกับผู้นำชุมชน เพื่อหาแนวทางในการแก้ไขปัญหาไม่ให้เกิดเหตุการณ์นี้ขึ้นอีก
ขอบคุณค่ะ
จุรีย์พร
-
06/20/2016 at 5:52 am #5340UdomMember
Thank you krub K. Jureeporn. K. Jureeporn wrote:
– The trial should have consultation meeting with national level CABs to seek suggestions regarding stigmatisation and criminalisation of same sex relationship. The information and suggestions from the consultation can be used in planning for public relation about the trial to reach a wider audience.
– In addition, the research team should engage the community in preparation of the trial. This may be community forums to share ideas and to learn about the context of the target community. The information gained from the community forums can be used to prepare the community, in analyst of information for public relation, and for guiding the use of suitable language for target audience.
– On of the challenges in the trial is stigma and discrimination, therefore the trial should have an issue management plan in place to prevent and handle problems that may happen during the implementation.
– For trial participants who are experiencing negative consequences, the trial has to help trial participants according to research ethics. Furthermore, the trial should consult with community leaders for ways to mitigate the problem as well as to prevent the recurrence of the problem.
-
-
06/19/2016 at 1:00 am #5326PiranunMember
-การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างทีมผู้วิจัยกับสถานประกอบการ ซึ่งมองว่ามีความสำคัญเพื่อที่จะได้อธิบายและพูดคุยกันถึงการทำวิจัยในกลุ่มชายรักชายนี้ รวมถึงการลงศึกษาพื้นที่จริงว่าคนในชุมชนเป็นอย่างไร คิดอย่างไร รวมทั้งบริบทของชุมชน ผู้นำชุมชนและแกนนำชุมชนต่างๆ รวมทั้งคนทำงานด้านนี้ เช่น NGO
-Counseling การให้คำปรึกษา พูดคุยกับอาสาสมัครเป็นรายบุคคล (Individual counseling) ,การให้คำปรึกษาเป็นกลุ่ม (Group counseling)
-Discuss กับกลุ่มที่ทำงานร่วมกันทั้งทีมผู้วิจัยเองกับstakeholder องค์กรหรือผู้นำชุมชนต่างๆ NGO เพื่อที่จะได้มองเห็นปัญหา และช่วยกันระดมความคิดหาแนวทางป้องกันและช่วยกันแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น
-กระบวนการในเรื่องของ Psychosocial care & support และมี peer counseling supportที่คอยให้คำปรึกษาอย่างใกล้ชิดกับ participants
-กระบวนการ Referral and follow up procedure.
-
06/19/2016 at 4:53 am #5327UdomMember
Thank you krub K. Piranun. She wrote:
– It is important that the research team builds relationship with business owners. It affords the research team to explain and discuss MSM-oriented research with them. Good relationship also allows the research team to learn from the community about the community’s perception as well as other community context, community leaders, and community key persons, and others (such as NGO workers).
– Counselling including discussion with trial participants, individual counselling, and group counselling
– Discuss with groups that are partners of the research team and stakeholders, community organisations and community leaders to understand the problems and to brainstorm for solutions and prevention of the problems.
– Psychological care and support process and peer counselling support to provide on-going support for participants
– Referral and follow up procedure
-
-
06/17/2016 at 9:57 am #5315ThippawanMember
สวัสดีค่ะ ขอเพิ่มเติมคุณวรรณภาเล็กน้อย
มองว่าก่อนทำการวิจัยเรื่องนี้ ควรมีการศึกษาพื้นที่ บริบทของกลุ่มประชากร รวมถึงการเข้าถึงแหล่งชุมชน พร้อมทำพูดถึงข้อมูลงานวิจัยที่จะมาทำอย่างคร่าวๆ และเป็นระยะ ทั้งนี้เพื่อจะได้ศึกษาผลที่อาจเกิดขึ้น โดยประชุมร่วมกับองค์กรที่ทำงานในพื้นที่ หัวหน้าหรือตัวแทนแต่ละชุมชน
ส่วนในประเด็นว่าหากเกิดผลกระทบขึ้นกับอาสาสมัคร ควรมีการนัดพูดคุยกับอาสาสมัครในสิ่งที่เกิดขึ้น พร้อมทั้งรายงาน และ ขอประชุมหารือร่วมกับหน่วยงานในพื้นที่เพื่อหาแนวทางแก้ไข และแนวทางป้องกันการเกิดเหตุการณ์ขึ้นซ้ำอีก
-
06/18/2016 at 5:26 am #5324UdomMember
Thank you Krub K. Thippawan.
K. Thippawan wrote that first of all in the beginning the research team should carry out a study to learn about target population, how to approach the community as well as inform the community about the planned trial. This should be done regularly to monitor what happens in the community. This can be done by having regular meetings with local organisations, community leaders and community representatives.
Any negative event or social harm that occurs to trial participants, research team should discuss with trial participants about the incidents and documenting the incidents. Then the research team should have a meeting with local agencies/organizations to discuss approach to solve the problem and to prevent the recurrence of the problem.
-
-
06/16/2016 at 6:21 am #5309WannaphaMember
สิ่งที่ทีมวิจัยควรต้องดำเนินการ เนื่องจากจัดเป็น Social harm อย่างหนึ่งคือ
-ปรึกษากลุ่มคนหรือองค์กรในพื้นที่ที่ทำงานเกี่ยวกับ MSM เพื่อขอคำแนะนำในการแก้ไขหรือแนวทางป้องกันปัญหานี้ไม่ให้เกิดขึ้นอีก (discuss this issues with NGO/GO in research area)
-พบปะพูดคุยกับเจ้าของสถานประกอบการ เพื่อให้เขาเข้าใจและรู้จักว่าศูนย์การวิจัยนี้ทำอะไร เพื่อสร้างความไว้วางใจและสัมพันธภาพที่ดี(build trust and good relationship with bar owner)
-พูดคุยกับอาสาสมัครถึงผลกระทบทางสังคมที่เขาได้รับจากการเข้าร่วมโครงการ รวมทั้งข้อกังวลต่างๆ และคำเสนอแนะในการแก้ไขและป้องกันปัญหานี้(deep interview individual with volunteer)
– จัดประชุมร่วมกับผู้นำชุมชน และสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับศูนย์วิจัย (meet with community leader and build trust)
ประมาณนี้ค่ะ ขอบคุณค่ะ
-
06/17/2016 at 4:53 am #5314UdomMember
Thank you krub K. Wannapha. Her suggestions are self explanatory. No need for me to translate them. Here are the summary.
– Discuss with the area NGOs, CBOs to prevent and solve the problem;
– Meet and discuss with business owners, and bar operators to explain the work of the institute as well as to build trust and positive relationship with them;
– In-depth interviews trial participants about social harms that they are having or concern about, and their suggestions on how to prevent and solve the problems;
– Meet with community leaders to provide correct information about the work of the institute (or trial).
-
-
06/14/2016 at 9:22 am #5294UdomMember
สำหรับหัวข้อการสนทนาครั้งนี้คุณ Anne ตั้งประเด็นว่า
“จินตนาการว่าคุณกำลังดำเนินการวิจัยเกี่ยวกับชายร่วมเพศกับชาย(MSM) ซึ่สำหรับประเทศ(ที่เราทำการวิจัยนั้น)การมีเพศสัมพันธ์กับคนเพศเดียวกันนั้นถูกรังเกียจตีตราและผิดกฏหมาย อาสาสมัครจำนวนหนึ่งของโครงการวิจัยที่ท่านทำอยู่ถูกทำร้ายที่ไนท์คลับแห่งหนึ่งในชุมชนเพราะมีข่าวลือแพร่กระจายว่าพวกเขามีความเกี่ยวพันกับศูนย์การวิจัยซึ่ง(ศูนย์ฯ)กลายเป็นที่รู้กันในชุมชนว่า ‘เป็นแหล่งที่คนถูกอบรมให้เป็นเกย์’ศูนย์การวิจัยของท่านจะจัดการกับสถานการณ์เช่นนี้อย่างไร?
จะสามารถทำอะไรล่วงหน้าได้ เพื่อป้องกันไม่ให้เหตุการณ์เช่นนี้เกิดขึ้น?”
ขอเชิญทุกท่านเข้าร่วมแสดงความคิดเห็น เสนอวิธีการแก้ไขปัญหา และป้องกันปัญหาไว้ก่อน ตามที่คุณ Anne ตั้งมาครับ
ขอบคุณครับ
-
-
AuthorReplies
- The forum ‘GPP Forum_Thailand_2016’ is closed to new topics and replies.